บริษัทฟังทางนี้ หากอยากชวนพนักงานกลับเข้าออฟฟิศให้มีประสิทธิภาพกว่าเดิม เพราะมีการสำรวจจาก Cisco พบว่า พนักงานที่อยากกลับเข้าออฟฟิศนั้นเป็นเพราะอยาก “ทำงานร่วมกัน” ขณะที่เลย์เอาท์การจัดออฟฟิศแบบเดิมไม่ได้ส่งเสริมในเรื่องดังกล่าวแต่อย่างใด นั่นจึงทำให้พนักงานบางส่วนมองว่า การกลับเข้าออฟฟิศที่บริษัทพยายามทำอยู่นั้น “ไม่เกิดประโยชน์” นั่นเอง
การทำงาน
-
- Brand Move !!Digital
“สิงคโปร์” ขึ้นแท่นประเทศที่ “คนทำงาน” ปรับใช้ AI เร็วที่สุดในโลก
by Mrs.OKby Mrs.OKสิงคโปร์กำลังเป็นประเทศที่คนทำงานมีการปรับใช้ AI รวดเร็วที่สุดในโลก คำกล่าวดังกล่าวมาจากการเปิดเผยสถิติครั้งล่าสุดของแพลตฟอร์มด้านการทำงาน LinkedIn ที่พบว่า ผู้ใช้งานจากประเทศสิงคโปร์มีการเพิ่มข้อมูลว่าตนเองมีความสามารถด้าน AI ลงไปในโปรไฟล์สูงที่สุดจากบรรดา 25 ประเทศที่ LinkedIn เก็บข้อมูล โดยถือเป็นตัวเลขที่เติบโตขึ้น 20 เท่าเมื่อเทียบกับเดือนมกราคม 2016 อีกทั้งยังเติบโตเหนือกว่าค่าเฉลี่ยของโลกถึง 8 เท่า
- Digital
Adobe พบคนทำงาน 70% ดูข่าวมากขึ้น ชี้ “ข่าวด่วน” กระทบประสิทธิภาพการทำงาน
by Mrs.OKby Mrs.OKผลการศึกษาของอะโดบี (Adobe) พบ ผู้จัดการและพนักงานกว่า 70% เห็นว่า “ความไม่แน่นอน หรือการเปลี่ยนแปลง” กลายเป็นเรื่องปกติในสถานที่ทำงาน และจากความไม่แน่นอนนั้น ทำให้พนักงานกว่า 70% บริโภคข่าวสารระหว่างชั่วโมงทำงานเพิ่มมากขึ้น และ 75% ระบุว่ารายการข่าวด่วนส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานเป็นเวลาหลายชั่วโมง
-
เป็นที่ทราบกันดีว่า ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีความไม่เท่าเทียมทางเพศแอบซ่อนอยู่ใต้กลีบดอกซากุระมายาวนาน ซึ่งความไม่เท่าเทียมนี้ก็ลามไปถึงโลกของการทำงานด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของโอกาสที่ผู้หญิงจะได้เข้าสู่โลกของการทำงาน หรือการก้าวสู่ตำแหน่งผู้บริหารที่ต่ำเตี้ยเรี่ยดิน ขณะที่ในแง่ของเงินเดือนก็มักจะต่ำกว่าเพศชายที่ทำงานในตำแหน่งเดียวกันถึง 24.5% จนทำให้ญี่ปุ่นอยู่ในอันดับที่ 110 ของ Global Gender Gap Index 2018 (อ้างอิงข้อมูลจาก The World Economic Forum ที่มีการเปิดเผยเมื่อต้นปีที่ผ่านมา)
- Insight
มนุษย์เงินเดือนเช็คด่วน! ทำงานที่เดิมเกิน 7 ปี ดีจริงหรือ? พร้อมดัชนีวัดได้เวลาเปลี่ยนงาน
by WPby WPสาย Comfort Zone ทั้งหลาย ทำงานที่เดิมกันมานานเท่าไหร่แล้ว…หากทำมาเกิน 7 ปี ลองเข้ามาอัปเดตสถานการณ์กันหน่อย ข้อไหนตรง ข้อไหนใช่ มาสำรวจกันดูว่าทำงานที่เดิมเกิน 7 ปี นั้นดีจริงหรือไม่ ?!? 1. ดัชนีความสุขในการทำงาน การได้ทำงานที่ใช่ มีใจรักในงานที่ทำ ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน บรรยากาศการทำงานในองค์กร ฯลฯ ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิตการทำงานในแต่ละวันของเรา ล้วนแล้วแต่เป็นดัชนีชี้วัดความสุขในการทำงานได้ทั้งสิ้น แน่นอนว่าไม่มีใครได้ทุกอย่างตามใจปรารถนาทุกประการ แต่ต้องลองบวกลบคูณหารดูว่า โดยรวมแล้วเราพึงพอใจกับงานที่ทำอยู่มากน้อยเพียงใด ตอบโจทย์ความต้องการของเราได้แค่ไหน และหากมีอุปสรรคปัญหามีสิ่งใดชดเชยตอบแทน หรือทำให้รู้สึกคุ้มค่ากับแรงกายแรงใจที่ทุ่มเทไปกับการทำงานหรือไม่ …
-
อารมณ์ความรู้สึกเป็นเรื่องที่ส่งผลต่อการทำงาน เมื่อเราอารมณ์ดีก็ทำให้มีใจจะทำงานและทำออกมาได้ดี การคิดบวกเป็นสิ่งหนึ่งที่จะช่วยให้ปรับอารมณ์ให้ไม่ติดลบ การคิดบวกจึงจำเป็นเมื่อเราต้องอยู่ในออฟฟิศที่เต็มไปด้วยความวุ่นวาย งานกองโต และแรงกดดันจากทุกทิศทาง แต่ในความเป็นมืออาชีพแล้วงานต้องเดินหน้าต่อ วิธีการที่จะรักษาประสิทธิภาพการทำงานไว้ ส่วนหนึ่งจึงอยู่ที่การปรับอารมณ์ให้สดใสอยู่เสมอ วันนี้เรามีทริปดีๆ ที่จะช่วยให้คุณพยายามที่สดใสได้มากขึ้นตลอดทั้งวัน เพื่อผลงานที่ดี
-
หลายคนทำงานหนักจนลืมเรื่องความสัมพันธ์ในที่ทำงานหรือไม่ได้ให้ความสำคัญกับมันเท่าไหร่นัก บางคนเชื่อว่าการมาทำงานเป็นคนละเรื่องกับการมาทำตัวให้คนอื่นรัก แต่การทำงานให้ดีภายใต้สภาพแวดล้อมที่น่าอยู่โดยไม่มีใครรอแทงเราอยู่ข้างหลังก็ดีกว่าไม่ใช่เหรอ โดยเฉพาะกับเจ้านายด้วยแล้วหากมีคดีกันหรือความสัมพันธ์กระเสาะกระแสะคงไม่ดีเท่าไหร่ เพราะอาจส่งผลต่อความก้าวหน้าได้ เราไม่ได้จะบอกให้คุณประจบนาย แต่เราอยากให้คุณเป็นลูกน้องที่สำคัญจนขาดไม่ได้ ไม่ใช่เป็นคนขี้ประจบที่น่าไว้ใจ เพราะความพึงใจเล็กๆ น้อยๆ ไม่ได้ทำให้คุณได้โปรโมตเสมอไป
-
เดี๋ยวนี้เทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ตทำให้อะไรๆ ก็ง่ายขึ้นรวมไปถึงเรื่องงาน งานบางอย่างไม่จำเป็นต้องมีออฟฟิศเป็นหลักแหล่งอีกต่อไป เช่น งานนักเขียน ฟรีแลนซ์ หรือเจ้าของกิจการรุ่นตั้งไข่ ทุกคนสามารถแบกแล็ปท๊อปของตัวเองแล้วไปหาที่นั่งชิลทำงานได้อย่างไม่ซ้ำกันในแต่ละวัน ทำให้ Co – working space เกิดขึ้นมากมาย
- ไม่มีหมวดหมู่
Sheryl Sandberg ซีโอโอหญิงแห่ง Facebook แนะ แท้จริงแล้วเป้าหมายในชีวิตการงานมีแค่ 2 ข้อ
by Rassarinby RassarinSheryl Sandberg, Chief Operating Officer ของ Facebook และผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ LearnIn.org ตอบคำถามใน Quora เกี่ยวกับเป้าหมายในชีวิตการทำงาน ว่าแท้จริงแล้วคนเราควรให้ความสำคัญกับ 2 อย่าง คือ ความฝันระยะยาว และแผนการณ์ระยะสั้น พร้อมคำแนะนำอีก 3 ประการเกี่ยวกับการทำงาน