เชื่อว่าถึงวันนี้เราคงคุ้นกันดีกับการทำงานแบบ Work From Home แล้ว แต่ที่บางคนอาจยังรับมือได้ไม่ดีนัก เป็นเรื่องของ “เจ้านาย” ขนฟูที่มักมาป้วนเปี้ยนกับคอมพิวเตอร์ของเราเวลาทำงานอยู่เสมอ
ทำงานจากที่บ้าน
- DesignFeaturedGood IDEAs
- Digital
ให้ พนง. เลือกชีวิตที่ต้องการ Salesforce ร่วมวง WFH ชี้ทำงานแบบ 9-to-5 นั้นตกยุคไปแล้ว
by Mrs.OKby Mrs.OKในโลกการทำงานที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นตัวนำ ดูเหมือนว่าจะมีความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกิดขึ้นอย่างเงียบ ๆ เห็นได้จากการที่บริษัทเทคโนโลยีทั้งไมโครซอฟท์ (Microsoft) และเฟซบุ๊ก (Facebook) ต่างออกมาประกาศนโยบายการทำงานแบบ Work From Home กันเป็นการถาวรเพื่อรับมือกับการแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19 ล่าสุด บริษัทผู้ให้บริการคลาวด์อย่าง Salesforce ก็ออกมาขอร่วมวงด้วยเช่นกัน แถมยังยืดหยุ่นมากขึ้น ด้วยการมีออปชันให้พนักงานเลือกถึง 3 แบบ
- Brand Move !!COVID-19Featured
“Productivity Disaster” มุมมืดอีกด้านของการ Work From Home
by Mrs.OKby Mrs.OKในช่วง Covid-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่ามีหลายบริษัทตัดสินใจให้พนักงาน Work From Home เพื่อความปลอดภัย และหลายบริษัทก็ติดใจ ถึงขนาดที่ว่าอาจจะปรับเปลี่ยนนโยบายให้พนักงาน Work From Home กันตลอดไปเลยทีเดียว
-
นอกจากการสูญเสียหน้าที่การงานในยุค Covid-19 จะกลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่กลายเป็นเรื่องปกติพอ ๆ กับก็คือการทำงานแบบ Work From Home เห็นได้จากข้อมูลของ LinkedIn ที่พบว่ามีผู้ค้นหาตำแหน่งงานแบบ Work From Home เพิ่มขึ้นถึง 43% ในช่วงที่ผ่านมา โดยเฉพาะในย่านที่การแพร่ระบาดของไวรัสค่อนข้างหนัก (ในสหรัฐอเมริกาเช่น ซานฟรานซิสโก, นิวยอร์กซิตี้ และซีแอทเทิล)
-
ดูเหมือนว่าการย้ายตัวเองจากมนุษย์ออฟฟิศมาสู่การทำงานจากที่บ้านจะกลายเป็นสิ่งที่ได้รับการพูดถึงมากขึ้นในช่วงเวลานี้ ประกอบกับการได้เห็นบริษัทระดับโลกอย่าง Google, Microsoft, Twitter, Apple, Amazon, Chevron ฯลฯ ได้เริ่มนำมาปรับใช้กับพนักงานของตัวเอง ก็อาจทำให้บริษัทน้อยใหญ่ในประเทศไทยเริ่มมองการประกาศ Work From Home ไว้เป็นตัวเลือกสำหรับรับมือการแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19 กันมากขึ้น
- Brand Move !!
ญี่ปุ่นเริ่มแล้ว รับมือ Covid-19 “ทำงานจากที่บ้าน-ไม่เดินทางในชั่วโมงเร่งด่วน”
by Mrs.OKby Mrs.OKหนึ่งในภาพชินตาของประเทศญี่ปุ่น กับภาพผู้คนจำนวนมากหลั่งไหลเข้ามาใจกลางเมืองเพื่อทำงานในทุก ๆ เช้าอาจจะต้องเปลี่ยนไป หลังการระบาดของไวรัสโคโรนา หรือชื่อใหม่ว่า Covid-19 เมื่อบริษัทญี่ปุ่นจำนวนหนึ่ง รวมถึงธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการคมนาคมขนส่งได้มีมาตรการเพื่อรับมือกับปัญหาดังกล่าวออกมาแล้ว