ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา สถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน (ประเทศไทย) หรือ HILL ASEAN โดยบริษัท ฮาคูโฮโด อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) ได้จัดทำผลวิจัยศึกษาพฤติกรรมความเป็นอยู่ของคนอาเซียนมาต่อเนื่อง โดยเฉพาะไลฟ์สไตล์ “ครอบครัว” ของคนในภูมิภาคนี้
ฮาคูโฮโด
- Insight
- Brand Move !!
ยุคแห่งการเติบโต ‘สปา-ฮาคูโฮโด’ จัดทัพผู้บริหารรุ่นใหม่ แตก 3 ธุรกิจ เจาะตลาด ‘ดิจิทัล-เอสเอ็มอี-ทุนจีน’
by Janby Jan“สปา-ฮาคูโฮโด” หรือ “สปา แอดเวอร์ไทซิ่ง” ชื่อแรกในยุคก่อตั้งเมื่อปี 2524 เป็นธุรกิจเอเจนซี่โฆษณาที่ก่อตั้งโดย “โอสถสภา” ยักษ์ใหญ่กลุ่มสินค้าคอนซูเมอร์สัญชาติไทย ที่เห็นโอกาสการเติบโตของธุรกิจโฆษณา บริการสื่อสารการตลาดและผลิตชิ้นงานโฆษณา จึงจัดตั้งเอเจนซี่ดูแลสินค้าในเครือรวมทั้งรับงานลูกค้านอกองค์กร
- Insight
คนไทยไร้ที่พึ่ง (ทางใจ)? ฮาคูโฮโดฯ เปิดผลสำรวจ “มูเตลู” ช่วยยึดเหนี่ยวคน Gen X-Y-Z
by Mrs.OKby Mrs.OKสถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน (ประเทศไทย) โดย บริษัท ฮาคูโฮโด อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จำกัด เปิดผลสำรวจเกี่ยวกับการมูเตลูของคนไทย ในแต่ละช่วงวัย พบคนไทยโดยทั่วไปเน้นมูไปกับเรื่องเงินและโชคลาภมากที่สุด และกว่า 52% ของคนไทยนิยามการมูเตลูว่าเป็น “เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ-ที่พึ่ง” เนื่องจากบางเรื่องอาจบอกใครไม่ได้
- Insight
เข้าสู่กลางปี คนไทยขอพักเรื่องใช้จ่ายไว้ก่อน มีพฤติกรรม ‘เก็บตัว-เก็บตัง’ อยู่บ้านมากขึ้น
by Janby Janหลังผ่านเทศกาลเฉลิมฉลองช่วงต้นปี ต่อเนื่องสงกรานต์ปีใหม่ไทย ส่งผลให้ภาพรวมการอยากใช้จ่ายของคนไทยในช่วงกลางปีเริ่ม “ลดลง” โดยสถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน (ประเทศไทย) หรือ Hakuhodo Institute of Life and Living ASEAN (THAILAND) เผยผลสำรวจเรื่องการคาดการณ์พฤติกรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภคในประเทศไทยประจำเดือนมิถุนายน 2566
-
การแพร่ระบาดของโควิด-19 เข้าสู่ปีที่ 3 แต่ตัวเลขผู้ติดเชื้อใหม่ยังเพิ่มขึ้นสูงต่อเนื่อง ซ้ำเติมด้วยภาวะเศรษฐกิจฝืดเคือง สินค้าปรับขึ้นราคาดันค่าครองชีพพุ่ง ทำให้ ค่าความสุขของคนไทยลดลง
- Insight
ฮาคูโฮโดเปิดพฤติกรรมคนไทย พบคนอีสานใช้จ่ายสูงสุด เผยเทรนด์ 2022 เน้นสุขนิยม ดูแลตัวเองมากขึ้น
by Mrs.OKby Mrs.OKแม้ปี 2021 ที่โหดร้ายสำหรับใครหลายคนได้จบไปแล้ว แต่ก็มีการศึกษาและพบพฤติกรรมการใช้จ่ายของคนไทยที่น่าสนใจในปีดังกล่าวออกมาให้นักการตลาด และแบรนด์ต่าง ๆ ได้ศึกษากัน โดยผู้ที่ออกมาเปิดภาพรวมในครั้งนี้ก็คือ สถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน (ประเทศไทย) ที่พบว่า คนไทยในปี 2021 มีพฤติกรรมการใช้จ่ายที่สวิงไปมาตลอดทั้งปี และผู้ที่มีความสุขน้อยที่สุดในกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามก็คือ บรรดาคุณแม่นั่นเอง
- Insight
ความสุขคนไทยลดลง “ฮาคูโฮโด” ชี้ โควิดทำคนไทยกังวล ต้องประหยัด เน้นใช้จ่ายสินค้าเพื่อปากท้อง
by adminkby adminkการกลับมาระบาดของไวรัสโควิด-19 ตั้งแต่เดือนเมษายนถึงปัจจุบัน ที่พ่นพิษรุนแรงกว่าครั้งก่อนๆ ที่ผ่านมา จนจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันพุ่งสูงขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้พฤติกรรมการใช้จ่าย รวมถึงสภาพจิตใจของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก เพราะต้องเผชิญกับสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย ความไม่แน่นอน และการใช้ชีวิตที่เข้มข้นกันอีกครั้ง
- Insight
ฮาคูโฮโด ชี้ แม้โควิดยังอยู่ แต่สงกรานต์นี้ “คนไทย” พร้อมเปย์หนักซื้อความสุขให้ตนเองและครอบครัว
by adminkby adminkปฏิเสธไม่ได้เลยว่า การทำธุรกิจในวันนี้เต็มไปด้วยความ “ท้าทาย” กว่าในอดีตมาก เพราะต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนที่ยากจะคาดเดามากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วหลังจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 เข้ามาตั้งแต่ปีที่ผ่านมา จนทำให้วิถีการใช้ชิวิตและพฤติกรรมบางอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลงไป
-
ใครว่ากลุ่มมิลเลนเนียล (Millennials) คิดคล้ายๆกัน มร.โกโร โฮคาริ ผู้อำนวยการบริหารฝ่ายวางแผนเชิงกลยุทธ์ประจำภูมิภาค และผู้อำนวยการสถาบันฮาคูโฮโด เอเชีย แปซิฟิค ศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน เปิดเผยรายงานวิจัย หัวข้อ “อาเซียน มิลเลนเนียลส์ – ต่างกันเกินกว่าจะเหมารวม” โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างรวม 1,800 คน จาก 6 ประเทศในอาเซียน ประกอบด้วย ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์
- Insight
“ฮาคูโฮโด” เผยความจริงเกี่ยวกับมุมมองใหม่ของ “ชนชั้นกลางในอาเซียน” กล้าใช้ชีวิตตามความต้องการ และไม่หยุดหารายได้เพิ่ม
by Rassarinby Rassarinสถาบันที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวชีวิตและการใช้ชีวิต ฮาคูโฮโด – ฮิลล์ อาเซียน (Hakuhodo Institute of Life and Living ASEAN: HILL ASEAN) ซึ่งเป็นคลังสมองทางวิชาการ (Think-Tank) ที่จัดตั้งขึ้นในปี 2557 โดยกลุ่มบริษัทฮาคูโฮโด บริษัทโฆษณาที่ใหญ่อันดับ 2 ของญี่ปุ่น ได้เปิดเผยงานวิจัยใหม่ล่าสุดโดยมีหัวข้อการศึกษา เรื่อง “ชนชั้นกลางขั้นเทพ: มุมมองใหม่ของชนชั้นกลางในอาเซียน” ซึ่งพบพฤติกรรมที่น่าสนใจว่า “ชนชั้นกลาง” ในปัจจุบันเกิดจากการนิยามตัวเอง โดยใช้ความต้องการเป็นเชิงไลฟ์สไตล์เป็นแรงผลักดันเพื่อก่อให้เกิดช่องทางสร้างรายได้ใหม่ …